19 หมู่ 5 ต.คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160

โทรหาเรา

อีเมล

LINE@

ข้อมูลเสาเข็มและส่วนประกอบของเสาเข็มมีไรบ้าง

หน้าแรก > บทความ > ข้อมูลเสาเข็มและส่วนประกอบของเสาเข็มมีไรบ้าง

เทคโนโลยีการในการก่อสร้างในปัจจุบันเจริญก้าวหน้าทันสมัยมาก ข้อมูลเสาเข็มและส่วนประกอบของเสาเข็มมีไรบ้าง สิ่งปลูกสร้างที่เกิดการทรุดตัว ถ้าเป็นสมัยก่อนอาจต้องทุบทิ้งเพื่อสร้างใหม่ แต่ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่สามารถช่วยแก้ปัญหาการทรุดตัวของสิ่งปลูกสร้างได้หรือรากฐานที่เรียกว่าเสาเข็ม

เสาเข็มตอกมีส่วนประกอบที่สำคัญคือ

  • หัวเสาเข็ม (Head) คือ ส่วนบนสุดของเสาเข็มที่รองรับแรงกระแทกจากการตอก
  • ตัวเสาเข็ม (Foot) คือ ส่วนลำตัวของเสาเข็ม มีพื้นที่ผิวมากกว่าส่วนอื่นๆ ทำหน้าที่รับแรงฝืดระหว่างเสาเข็มกับดิน
  • ปลายเสาเข็ม (Tip) คือ นิส่วนล่างสุดของเสาเข็ม ทำหน้าที่เจาะทะลุชั้นดิน และรับแรงแบกทานมีหลายรูปแบบแล้วแต่ชนิดของดินที่ลงไป
    1. ปลายหัวป้าน เหมาะกับการตอกผ่านดินอ่อน
    2. ปลายหัวเข็ม เหมาะกับการตอกผ่านดินอ่อน โดยสวนปลายปักลงชั้นดินดานหรือ ทราย
    3. ปลายหัวดินสอ เหมาะกับการตอกผ่านดินเหนียว กรวด ทราย โดยปลายเป็นเหล็กหล่อดัง
    4. ปลายหัวปากกา เหมาะกับการตอกผ่านชั้นหิน
  • แผ่นเหล็กหัวเสาเข็ม (Driving Head) คือแผ่นเหล็ก ที่ปิดทับบนหัวเสาเข็มถูกยึดด้วยเหล็กสมอเทฝังเข้าเนื้อ คอนกรีตทำหน้าที่เพื่อรองรับน้ำหนักการกระทบของตุ้มและใช้สำหรับเชื่อมต่อระหว่างเข็มท่อนบน และล่าง

การตรวจรับและการกองเก็บเสาเข็ม

การตรวจรับเสาเข็มที่นำส่ง

  • ตรวจสอบความยาว ขนาด Dowel และวันที่ ผลิต
  • การลงเสาเข็มควรใช้รถเครนเพื่อป้องกันเสาเข็มร้าวหรือหัก
  • การลงโดยใช้แรงงานคนงัดลงควรจัดลงผ่านทางลาด และมียาง รถยนต์รองรับ
  • ควรทำการตรวจรอยร้าวของเสาเข็ม โดยใช้น้ำราด บริเวณที่รอยร้าว น้ำจะซึม
  • ลงทำให้เห็นรอยร้าวเมื่อน้ำบริเวณอื่นแห้งถ้าพบรอยร้าวรอบเสาเข็มเกินกว่าที่ระบุในข้อกำหนดประกอบแบบหรือตามที่กำหนดใน มอก.ไม่ควร นำไปใช้งาน

การกองเก็บเสาเข็ม

  • ปรับพื้นที่กองเก็บให้เรียบได้ระดับ
  • ใช้ไม้รองบริเวณที่ 0.21L ของเสาเข็มทั้งด้านหัวเสา และปลายเสาตามทุกชั้นที่มีการวางซ้อนทับต้องรองไม้รองให้ตรงเป็นแนวดิ่งมิฉะนั้นเสาเข็มจะวิบัติสามารถสังเกตจุดรองรับได้ว่าจะอยู่บริเวณเดียวกับจุดที่ยก

การโยกย้ายเสาเข็ม

เนื่องจากเสาเข็มคอนกรีตมีความเปาะมีโอกาสชำรุดเสียหายในการเคลื่อนย้าย จึงควรรู้จักตำแหน่งในการยกเพื่อโยกย้ายที่ถูกต้อง โดยมี 3 ลักษณะคือ

  1. การยกจุดเดียว (Single Point Lifting)
  2. การยกสองจุด (TwoPoint Lifting)
  3. การยกสามจุด(Three Point Lifting)

Related Posts

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    ประเภทของคุกกี้มีความจำเป็นสำหรับการทำงานของเว็บไซต์ เพื่อให้คุณสามารถใช้ได้อย่างเป็นปกติ และเข้าชมเว็บไซต์ คุณไม่สามารถปิดการทำงานของคุกกี้นี้ในระบบเว็บไซต์ของเราได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์

    คุกกี้ประเภทนี้จะทำการเก็บข้อมูลการใช้งานเว็บไซต์ของคุณ เพื่อเป็นประโยชน์ในการวัดผล ปรับปรุง และพัฒนาประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ ถ้าหากท่านไม่ยินยอมให้เราใช้คุกกี้นี้ เราจะไม่สามารถวัดผล ปรังปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้

  • คุกกี้เพื่อปรับเนื้อหาให้เข้ากับกลุ่มเป้าหมาย

    คุกกี้ประเภทนี้จะเก็บข้อมูลต่างๆ รวมทั้งข้อมูลวส่วนบบุคลเกี่ยวกับตัวคุณเพื่อเราสามารถนำมาวิเคราะห์ และนำเสนอเนื้อหา ให้ตรงกับความเหมาะสมกับความสนใจของคุณ ถ้าหากคุณไม่ยินยอมเราจะไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาและโฆษณาได้ไม่ตรงกับความสนใจของคุณ

บันทึกการตั้งค่า